วิธีทำ CDS

0
779

ผลิต CDS ง่ายๆทำเองที่บ้านได้

สารบัน

  • คำเตือน
  • อุปกรณ์ที่ต้องใช้
  • การเตรียมทำ CDS
  • ขั้นตอนการผลิต
  • ข้อควรระวัง
  • วัสดุที่ต้องห้ามใช้
  • วิธีการจัดเก็บ
  • แหล่งซื้อต่างๆ

คำเตือน !

  • ข้อมูล CDS (คลอรีนไดอ็อกไซด์ โซลูชั่น) ทั้งหมด ไม่ได้เป็นการเชิญชวนหรือแนะนำให้ท่านรับประทานซีดีเอสเป็นอย่างใด
  • ข้อมูลเหล่านี้เป็นเพียงข้อมูลให้ท่านศึกษาเท่านั้นถึงวิธีการที่แพทย์ในต่างประเทศ
  • การรับประทานซีดีเอส ไม่ผ่านการรับรองโดย สำนัก อย. ประเทศไทย 
  • แพทย์ได้ออกคำเตือนถึงการรับประทานซีดีเอสว่าเป็นอันตราย
  • ดังนั้นหากท่านจะรับประทาน จะต้องอยู่ภายใต้ความรับผิบชอบของตัวท่าน หลังจากที่ท่านได้ศึกษาข้อมูลอย่างครบถ้วนแล้วเท่านั้น

อุปกรณ์ที่ต้องใช้ 

1. ขวดแก้วโหล ขนาด 1.5 ลิตร ความสูงประมาณ 20 ซม (จำนวน 1) 

2. กระบอกตวงแก้ว 25มล ความสูงไม่เกินแก้วโหล (จำนวน 1)

3. กรวยแก้ว (จำนวน 1)

4. ขวดแก้วสีชา 1,000มล มีจุก (จำนวน 1)

5. แก้ว Beaker 50 มล(จำนวน 2)

6. แท่งแก้วคนสาร (จำนวน 1)

7. สารตั้งต้น NaClO2  

8. สารตั้งต้น HCl

ซื้อเป็นชุดสั่งทีเดียวทาง dioxiway.com

การทำ CDS ที่มีคุณภาพ

  • มีหลายวิธีในการทำ CDS ซึ่งก็คือเจือจางก๊าซคลอรีนไดออกไซด์ (ที่เกิดจากปฏิกิริยาของโซเดียมคลอไรต์กับกรด) ในน้ำ
  • เป้าหมายคือการทำ CDS ในความเข้มข้น 3,000 ppm 
  • CDS ยิ่งมีความบริสุทธิ์ที่สูงยิ่งดี ควรคำนึงถึง
    • สารตั้งต้นที่มีคุณภาพและความบริสุทธิ์ที่สูง
    • กระบวนการ/ภาชนะ ทำที่สะอาด
  • มีวิธีอื่นๆ ในการทำ CDS แต่ในข้อมูลนี้ เราจะทำด้วยวิธีที่ปลอดภัยและง่ายที่สุด
  1. เราจะทำการผสม โซเดียมคลอไรท์ กับ กรดเกลือ 2 รอบ
  2. ปฏิกิริยา 1 รอบใช้เวลาประมาณ 12 ชม หรือ ต่ำกว่า 
  3. ในแต่ละปฏิกิริยาจะใช้สัดส่วนที่แสดงไว้ในตาราง

การเตรียมทำ CDS

  • ตัวอย่างเช่น ต้องการผลิต CDS 350 มล. 
  • เราจะใช้โซเดียมคลอไรท์ 5 มล. และกรดเกลือ 5 มล. ตามที่แสดงในตาราง
  • จะทำปฏิกิริยา 2 รอบ รอบละ 5 มล ดังนั้นในการผลิต CDS 350 มล เราจะใช้ สารตั้งต้นทั้งหมด
    • โซเดียมคลอไรท์  5 มล x 2 รอบ = 10 มล.
    • กรดเกลือ  5 มล x 2 รอบ = 10 มล.

วิธีทำ CDS – วิธีง่ายๆ 

ขั้นตอนการทำ

  1. เราเติมน้ำดื่มสะอาดลงในภาชนะ (แก้วโหล) 
  2. ปรีมาณน้ำขึ้นอยู่กับปรีมาณ CDS ที่ต้องการ 
  • ในกรณีนี้ เราจะทำ CDS ในปรีมาณ 1,050 มล ดังนั้นเราจะเติมน้ำดื่ม 1,050 มล ลงไปในแก้วโหล
  1. นำกระบอกแก้ววางไว้ในแก้วโหล 
  • ไม่ควรให้น้ำในแก้วโหลเข้ากระบอกตลอดทั้งขั้นตอนการผลิต ซึ่งเป็นสิ่งสำคัญ 
  • ไม่ควรให้สารตั้งต้นในกระบอกลงในน้ำดื่มตลอดทั้งขั้นตอนการผลิต ซึ่งเป็นสิ่งสำคัญ
  • เว้นระยะไว้สัก 2-3 เซนติเมตร ระหว่างปากกระบอกแก้ว และ ระดับน้ำในแก้วโหล เพื่อให้เราเคลื่อนย้ายได้โดยไม่เสี่ยงอันตราย

4. ใส่สารตั้งต้น โซเดียมคลอไรต์ 15 มล ใน Beaker (ที่ 1) แล้วเทลงในกระบอกแก้ว ตามด้วย สารกรดเกลือ 15 มล. ใน Beaker (ที่ 2) แล้วเทลงในกระบอกแก้ว

    1. เนื่องจากเราใช้กระบอกแก้วทรงยาว (ชมภาพในหน้าถัดไป)
    • การคนกรดเกลือ (HCl) ด้วยแท่งคนแก้ว ระหว่างผสมกับโซเดียมคลอไรต์ (NaClO₂) ถือเป็นสิ่งสำคัญ
    • เพราะจะช่วยให้กรดกระจายตัวได้อย่างสม่ำเสมอ ป้องกันไม่ให้เกิดความเข้มข้นสูงในบริเวณนั้นๆ
    • ความเข้มข้นกรดที่สูงในบริเวณนั้นๆ อาจเอื้อต่อการผลิตก๊าซคลอรีน (Cl₂) แทนที่จะเป็นคลอรีนไดออกไซด์ (ClO₂) ที่ต้องการ 
    • การคนจะช่วยให้ โซเดียมคลอไรต์ (NaClO₂) ทำปฏิกิริยากับ กรดเกลือ (HCl) ได้ชัดเจนขึ้น ทำให้ปล่อย คลอรีนไดออกไซด์ (ClO₂)  ได้อย่างควบคุมมากขึ้น ขณะเดียวกันก็ลดความเสี่ยงของผลิตภัณฑ์รองที่ไม่ต้องการ 
    • คนอย่างระมัดระวังเพื่อรักษาสภาพที่สม่ำเสมอตลอดทั้งส่วนผสม
    1. ปิดแก้วโหล
    • คุณจะเห็นว่าสารตั้งต้นทำปฏิกิริยาและเปลี่ยนสีเป็นสีน้ำตาลเข้ม
    • เมื่อถึงจุดนี้คลอรีนไดออกไซด์จะเริ่มถูกปล่อยออกมาเป็นก๊าซและจะผสมกับน้ำโดยรอบ 
    • เก็บภาชนะไว้ในที่ที่ไม่ถูกแสงแดดเป็นเวลา 12 ชั่วโมง
    • ไม่ควรแช่เย็นในการะบวนการผลิต 
    • ให้เก็บในอุณหภูมิห้อง ปลอดภัย ห่างจากเด็กและสัตว์เลี้ยง
    • หลังจากผ่านไป 12 ชั่วโมง (ในทางทฤษฎี หรือเมื่อคุณเห็นว่าสีสารตั้งต้นภายในกระบอกแก้ว เหมือน/คล้าย กับสีน้ำรอบนอก) เราจะเห็นว่าน้ำมีสีเหลืองอ่อนๆ เนื่องมาจากคลอรีนไดออกไซด์เจือจางอยู่ภายใน
    • ตอนนี้มาถึงขั้นตอนละเอียดอ่อนขั้นตอนหนึ่งแล้ว เมื่อเราเปิดแก้วโหล จะมีก๊าซบางส่วนออกมาจากด้านใน ดังนั้นจึงควรทำในที่ ที่มีการระบายอากาศดี (และไม่ใช่ในแสงแดดโดยตรง เนื่องจากคลอรีนไดออกไซด์จะทำปฏิกิริยากับแสงอัลตราไวโอเลต) 
    • ถึงเวลาที่จะเอากระบอกแก้วออกจากแก้วโหล เพื่อไม่ให้ก็าซจากน้ำรอบข้างระเหยออก เราจะแช่ขวดโหลนี้ใว้ในตู้เย็นก่อนเปิด หรือ รีบเปิดนำแก้วกระบอกออก แล้วรีบปิดได้
    • เมื่อนำกระบอกออกแล้วให้ปิดแก้วโหลอีกครั้งทันที 
    • นำสารตั้งต้นในกระบอกแก้วที่ผ่านการทำปฏิกิริยามาแล้ว เก็บในขวด พลาสติกน้ำดื่มทั่วไป (ห้ามรับประทาน) 
    • เราสามารถใช้ของเสียเหล่านี้ในการทำความสะอาดและฆ่าเชื้อที่บ้านได้ เช่นล้างห้องน้ำ ฆ่าเชื้อ ดับกลิ่น เป็นต้น 
    1. ทำซ้ำขั้นตอนที่ 4 
    • คราวนี้เราจะทำผสมสารตั้งต้น ในกระบอกแก้ว ‘ภายนอก’ แก้วโหล
    • ใส่โซเดียมคลอไรต์ 15 มล. ใน Beaker (ที่ 1) แล้วเทลงในกระบอกแก้ว 
    • ตามด้วยสารกรดเกลือ 15 มล. ใน Beaker (ที่ 2) แล้วเทลงในกระบอกแก้ว
    • ใช้แท่งคนแก้ว (ระหว่างใส่กรดเกลือ) คนให้ทั้ง 2 สารเข้ากัน

    8. จากนั้นค่อยๆ ใส่กระบอกแก้วลงไปในแก้วโหลอย่างระมัดระวัง 

    • ปิดแก้วโหล ส่วนผสมจะทำปฏิกิริยาอีกครั้ง และเราจะเก็บส่วนผสมนั้นไว้เป็นเวลาอีก 12 ชั่วโมง
    • หลังจากนี้ เราจะเห็นว่าสีของน้ำเข้มขึ้นแล้วโดยเป็นสีเหลืองอมเขียว CDS เสร็จแล้ว 
    • นำกระบอกตวงแก้วออกมาอีกครั้ง โดยระวังอย่าให้สารตั้งต้นด้านในผสมกับ CDS
    • รีบปิดแก้วโหลสนิท หรือ แช่เย็นก่อนเปิดแก้วโหล
    • เราจะได้ CDS คุณภาพสูงสำหรับใช้ส่วนตัว (ประมาณ 3,000ppm) 
    • จากนั้นเราจะถ่าย CDS นี้ออกจากแก้วโหล ลงในขวดแก้วสีชา (ดีที่สุด) หรือ PE (โพลีเอทิลีน) HDPE (โพลีเอทิลีนความหนาแน่นสูง) หรือ PP (โพลีโพรพิลีน) (โปรดจำไว้ว่าควรใช้ขวดมีสีเข้ม)
    • เก็บไว้ในตู้เย็นก่อนเปิดขวดใช้การ

    9. ถ่ายเท CDS จากแก้วโหล

    • ใช้กรวยแก้วในการเท CDS จากแก้วโหลใส่ใน ขวดแก้วสีชา 
    • ปิดจุก/ฝาให้สนิท
    • แช่ในตู้เย็นประมาณ 3 ชั่วโมงเพื่อทำให้ CDS เย็นก่อนเปิดขวด 
    • ปิดขวดให้แน่นและแช่เย็นตลอดเวลา

    ภาชนะจัดเก็บ CDS

    1. ใช้ภาชนะที่ปิดสนิทเท่านั้น
    2. ขวดแก้วมีจุก (ดีที่สุด) 
    3. ขวดพลาสติก วัสดุ PP | HDPE | PE 
    4. สีชาหรือขวดทึบ (ไม่ให้ถูกแสง)
    5. ห้ามภาชนะเหล็ก

    ข้อควรระวัง

    1. โปรดคำนึงไว้ว่าต้องทำ CDS ในสภาพแวดล้อมที่มีการระบายอากาศที่ดีเพื่อหลีกเลี่ยงการสูดดมก๊าซที่ออกมาจากส่วนผสม
    2. ควรปกป้อง CDS จากแสงแดด เพื่อให้ได้ CDS ที่ 3,000 ppm
    3. ในการผสมสารตั้งต้น ไม่ควรใส่ กรดเกลือก่อน โซเดียมคลอไรท์ 
      • ให้ใส่ โซเดียมคลอไรท์ ก่อนแล้วตามด้วย กรดเกลือเสมอ
      • หากใส่กรดเกลือก่อน อาจเอื้อต่อการผลิตก๊าซคลอรีน (Cl₂) แทนที่จะเป็นคลอรีนไดออกไซด์ (ClO₂) ที่ต้องการได้ 
    4. ซิลิโคนที่ปากขวดแก้วโหลอาจเสื่อมสภาพจาก CDS ได้ให้คอยตรวจและเปลี่ยนใหม่เป็นระยะๆ 
    1. เหล็กที่ปากแก้วโหล อาจเกิดเป็นสนิมจากการสัมพัส CDS ได้ให้เช็ดล้างทุกครั้งหลังการใช้งาน
    2. ควรผสมสารตั้งต้นเข้ากันโดยใช้ แท่งแก้ว ทุกครั้งที่ทำการผสมสารตั้งต้น (ในกรณีใช้กระบอกแก้วที่มีรูปทรงยาว)
    3. การสูดลมก็าซ คลอรีนไดอ็อกไซด์ อันตรายให้หลีกเลียง
    4. ควรซื้อสารตั้งต้นคุณภาพจากแหล่งที่ไว้ใจได้เท่านั้น
    1. ควรแยกแก้ว Beaker ในการใช้กับสารตั้งต้นทั้ง 2 โดยการเขียนบนแก้ว  Beaker เพื่อไม่ให้ปนกัน
    • แก้ว Beaker ที่ 1 สำหรับ โซเดียมคลอไรท์
    • แก้ว Beaker ที่ 2 สำหรับ กรดเกลือ
    1. ไม่ควรใช้น้ำยาใดๆ ในการชำระล้างภาชนะ ให้ล้างด้วยน้ำสะอาดเพราะอาจมีสารเคมีจากน้ำยาตกค้าง
    • CDS เป็นสารฆ่าเชื้ออยู่แล้ว

    วิธีจัดเก็บ

    1. สิ่งสำคัญคือต้องเก็บซีดีเอสไว้ในตู้เย็นเสมอ เนื่องจากก๊าซจะแยกตัวออกจากน้ำเมื่ออุณหภูมิสูงกว่า 11 องศาเซลเซียส ซีดีเอสจะเก็บได้นานหลายเดือน หาก
    • เก็บไว้ในตู้เย็น | ปิดฝาให้สนิท | เก็บในขวดแก้วสีชา
    • หากไม่ได้แช่เย็น เช่นช่วงระหว่างขนส่ง ให้แช่เย็นก่อนเปิดขวด
      • CDS ไม่เสื่อมเสียจากการไม่ได้แช่เย็น เพียงแต่ก็าซจะระเหยออกหากไม่เย็น ดังนั้นหลังจากการขนส่งให้แช่เย็นเพื่อให้ก็าซกลับเข้าไปในน้ำแล้วค่อยเปิดขวดใช้
    • ไม่ควรแช่ช่องฟรีซ อุณหภูมิที่ดีคือ 1 – 11 องศาเซลเซียส 
    1. สารตั้งต้น 
    • ไม่จำเป็นต้องเก็บในตู้เย็น
    • จัดเก็บตามปกติ ลีดเลี่ยงแสงแดด (โดยฌฉพราะ NaClo2)

    แหล่งซื้อ

    • ท่านสามารถหาซื้อภาชนะต่างๆ ได้ตามร้านค้าทั่วไป หรือซื้อเป็นชุดสั่งทีเดียวทาง dioxiway.com
    • ลงเรียนคอร์สฟรี ศึกษาหาความรู้เกี่ยวกับ CDS ได้ที่ไลน์ : @dioxiway
    • ติดตาม : https://linktr.ee/chawlaadithep

    ขอบคุณครับ

    หากท่านมีคำถาม สามารถถามได้ที่ : @dioxiway

    LEAVE A REPLY

    Please enter your comment!
    Please enter your name here